ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

การประชามติว่าด้วยร่างรัฐธรรมนูญพม่า พ.ศ. 2551

การประชามติว่าด้วยร่างรัฐธรรมนูญแห่งสหภาพพม่า ถูกจัดขึ้นเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 ทั่วสหภาพพม่า ตามประกาศเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 ของสภาสันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐ และวันที่ 24 พฤษภาคม 2551 สำหรับพื้นที่ประสบพิบัติภัยจากพายุหมุนนาร์กิส

คณะทหารได้จัดให้มีการพิมพ์เผยแพร่แก่สาธารณะซึ่งร่างรัฐธรรมนูญแห่งสหภาพพม่า และตามการแถลงของคณะทหาร ร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่มีสาระสำคัญเป็นการสนับสนุนระบอบประชาธิปไตยอันเป็นระบบระเบียบ" และจะได้จัดให้มีการเลือกตั้งผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปใน พ.ศ. 2553 ด้วย

เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2551 คณะทหารได้ตรากฎหมายว่าด้วยการออกเสียงประชามติเกี่ยวกับร่างรัฐธรรมนูญ และแต่งตั้งคณะกรรมการควบคุมการออกเสียงประชามติเช่นว่าด้วย โดยกฎหมายดังกล่าวมีสาระสำคัญเป็นการอำนวยความสะดวกในการลงคะแนนลับ และให้ประชาชนสามารถตรวจสอบการนับคะแนนนั้นได้ ทั้งนี้ ไม่มีข้อมูลว่าคะแนนลับที่เอ่ยถึงคืออะไร

อย่างไรก็ดี นานาชาติต่างมองว่าประชาธิปไตยในพม่าดูเลือนรางนักแม้จะได้มีการออกเสียงประชามติครั้งนี้ก็ตาม เพราะร่างรัฐธรรมนูญของพม่ากำหนดให้ที่นั่งหนึ่งในสี่ของสภานิติบัญญัติมีไว้สำหรับข้าราชการทหาร และคณะทหารที่ยึดอำนาจการปกครองก็ยังคงมีอิทธิพลเหนือกระทรวงกลาโหมซึ่งมีอำนาจหน้าที่ในการจัดและควบคุมการประชามตินี้อยู่ อีกประการหนึ่ง ร่างรัฐธรรมนูญพม่ายังตัดสิทธิในการลงสมัครรับเลือกตั้งของชาวพม่าที่สมรสกับชนต่างด้าว ซึ่งได้แก่ นางอองซาน ซูจี อีกด้วย

รัฐบาลทหารพม่าได้สั่งให้บรรดาสื่อมวลชนในประเทศดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้มีการรับร่างธรรมนูญเท่านั้น โดยในโทรทัศน์ของรัฐทุกช่องจะปรากฏแถบข้อความว่า “เชิญชาวเรารับร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อเพิ่มพูนประโยชน์บ้านเมือง” (Let's vote Yes for national interest) กับทั้งมีการเปิดเพลงเชิญชวนให้ออกเสียง “รับ” ผ่านสถานีแพร่ภาพและกระจายเสียงของรัฐทุกประเภทตลอดวัน

สันนิบาตเพื่อประชาธิปไตยแห่งสหภาพพม่า (สปต.) อันเป็นพรรคการเมืองฝ่ายค้านที่มีนางอองซาน ซูจี เป็นหัวหน้า ก็ได้ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนออกเสียง “ไม่รับ” ร่างรัฐธรรมนูญ อย่างไรก็ดี สปต. แถลงว่า รัฐบาลทหารได้สั่งให้ระงับการประชาสัมพันธ์เช่นนี้ กับทั้งสั่งจับผู้ประชาสัมพันธ์และให้ยึดสื่อประชาสัมพันธ์เสียสิ้น

ถึงแม้ว่าจะบังเกิดภาวะมหันตภัยเพราะพายุหมุนนาร์กิสในพม่าไม่กี่วันก่อนวันออกเสียงประชามติ แต่ในเบื้องแรกรัฐบาลทหารพม่าคงยืนยันว่าจะจัดให้มีการออกเสียงประชามติเกี่ยวกับร่างรัฐธรรมนูญพม่าตามที่กำหนดไว้ในวันเสาร์ที่ 10 พฤษภาคม 2551 ไม่เปลี่ยนแปลง ซึ่งได้ก่อให้เกิดปฏิกิริยาต่อต้านจากทั้งพรรคฝ่ายค้านของนางออกซาน ซูจี และจากนานาชาติ โดยในวันที่ 8 พฤษภาคม ผู้ประท้วงสามสิบคนได้ไปชุมนุมหน้าสถานเอกอัครรัฐทูตพม่าประจำกรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ เรียกร้องให้รัฐบาลพม่าเลื่อนการประชามติ และให้รับความช่วยเหลือจากนานาชาติโดยไม่ชักช้า ทั้งนี้ คณะผู้ชุมนุมออกแถลงการณ์ว่า บัดนี้ไม่ใช่เวลาสำหรับการเมือง หากเป็นเวลาแก้ไขเยียวยาสถานการณ์ ซึ่งในวันเดียวกัน รัฐบาลกลางของสหรัฐอเมริกาได้ร้องขอต่อสหประชาชาติมิให้รับรองการประชามติดังกล่าว และนางอองซาน ซูจี ผู้นำพรรคสันนิบาตแห่งสหภาพพม่าเพื่อประชาธิปไตย ออกมาแถลงว่า การจัดให้มีการออกเสียงประชามติท่ามกลางภาวะทุกข์เข็ญเช่นนี้ ถือเป็นเรื่องที่รับไม่ได้อย่างยิ่ง ต่อมาได้มีประกาศเลื่อนการประชามติเฉพาะนครย่างกุ้งและพื้นที่ประสบพิบัติภัยไปเป็นวันที่ 24 พฤษภาคม 2551

อนึ่ง ในวันที่ 9 พฤษภาคม 2551 สำนักข่าวมิซซิมา (Mizzima) แห่งสหภาพพม่าได้จัดให้มีการสำรวจความคิดเห็นของชาวพม่าว่าด้วยการประชามติครั้งนี้ การสำรวจดำเนินการผ่านการสอบถามทางโทรศัพท์และการสัมภาษณ์ซึ่งหน้า สิริจำนวนผู้ตอบการสำรวจสี่ร้อยสิบหกคน เป็นชายสองร้อยสิบแปดคน หญิงหนึ่งร้อยเก้าสิบแปดคน ในจำนวนนี้ประกอบไปด้วยนักเรียน นักศึกษา ครู อาจารย์ ข้าราชการ พนักงานของรัฐ กรรมกร แม่บ้าน และอื่น ๆ ผลดังนี้[ต้องการอ้างอิง]


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

แรง (ฟิสิกส์) ความยาว การเคลื่อนที่ ทฤษฎีเคออส กลศาสตร์แบบลากรางช์ เอนริโก แฟร์มี สมมาตรยิ่งยวด CERN Large Hadron Collider ไอน์สไตน์ ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป กาลิเลโอ ฟิสิกส์อนุภาค วิศวกรรมวัสดุ เซมิคอนดักเตอร์ นาโนเมตร วัสดุนาโน วัสดุฉลาด วัสดุเชิงก้าวหน้า วัสดุชีวภาพ พอลิเมอร์ เซรามิก สเปกโตรสโกปี อุณหเคมี ไฟฟ้าเคมี เคมีเชิงฟิสิกส์ โลหะอินทรีย์เคมี เคมีพอลิเมอร์ เคมีนิวเคลียร์ ชีววิทยาโมเลกุล เคมีเวชภัณฑ์ เคมีดาราศาสตร์ เคมีไคเนติกส์ สารประกอบอนินทรีย์ สารประกอบเคมี สารประกอบ John Dalton ทฤษฎีโฟลจิสตัน อ็องตวน ลาวัวซีเย Robert Boyle ปฏิกิริยาเคมี รายชื่อคณะวิทยาศาสตร์ในประเทศไทย เคมีสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม Social psychology วิทยาศาสตร์สังคม เทคนิคการแพทย์ เวชศาสตร์ พยาธิวิทยา เนื้องอกวิทยา ทัศนมาตรศาสตร์ Pharmacy บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ วิทยาศาสตร์พุทธิปัญญา สารสนเทศศาสตร์ วิทยาการสารสนเทศ สัตววิทยา วิทยาไวรัส ประสาทวิทยาศาสตร์ อณูชีววิทยา จุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน มีนวิทยา มิญชวิทยา กีฏวิทยา Developmental biology วิทยาเซลล์ ชีววิทยาของเซลล์ วิทยาแผ่นดินไหว ชลธารวิทยา สมุทรศาสตร์ เคมีความร้อน เคมีไฟฟ้า เคมีการคำนวณ เคมีวิเคราะห์ Particle physics พลศาสตร์ของไหล พลศาสตร์ สวนศาสตร์ ฟิสิกส์เชิงทฤษฎี โป๊ป ความเรียง เรอเน เดส์การตส์ การสังเกต การทดลอง ฟรานซิส เบคอน กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความรู้เชิงประจักษ์ คณิตตรรกศาสตร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย ไม้บรรทัด กระดูกนาเปียร์ ลูกคิด การแข่งขันคณิตศาสตร์ รางวัลอาเบล เหรียญฟิลด์ส ปัญหาของฮิลแบร์ท กลุ่มความซับซ้อน พี และ เอ็นพี ข้อความคาดการณ์ของปวงกาเร สมมติฐานความต่อเนื่อง

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
241
242
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24187